วันอาทิตย์ที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2555

รายงานการแปล-สรุปบทความข่าวสารหน้าชั้นเรียน


                        รายงานการแปล-สรุปบทความข่าวสารหน้าชั้นเรียน


แปล-สรุปบทความ โดย นายณัฐวุฒิ บุญสม

รหัส 5311322571 กลุ่มเรียน 101
Contact E-mail: natthawut11081991@gmail.com
Publish Blog : http://natthawut-arti3314.blogspot.com 
รายวิชา ARTI3314 การออกแบบกราฟิกสำหรับบรรจุภัณฑ์


             บทความที่ 1

                   Divine Desserts

ออกแบบโดย : Jen Brock

    

               


เนื้อหา

        The approach: Our trend research revealed home entertaining with decadent homemade desserts to be at the heart of the winter season and family celebrations. A rich color palette was created to unify the grouping and countless hours went into researching desserts. The delightfully decadent desserts keep our product in the busiest room of the house during the holiday and beyond. Because the dessert theme isn't too specific to any one holiday, you won't find our product on the discount shelf come Dec 26th.

แปลข่าว

แนวทางการวิจัยของเราพบว่าแนวโน้มความบันเทิงภายในบ้านที่มีขนมโฮมเมดเสื่อมจะเป็นหัวใจของฤดูหนาวและงานเฉลิมฉลองกับครอบครัว จานสีที่อุดมไปด้วยถูกสร้างขึ้นเพื่อรวมกลุ่มและเวลามากมายเดินเข้าไปในขนมค้นคว้าขนมเสื่อมครื้นเครงให้ผลิตภัณฑ์ของเราอยู่ในห้องที่คึกคักที่สุดของบ้านในช่วงวันหยุดและเกิน เนื่องจากรูปแบบขนมหวานมากเกินไปไม่ได้เป็นเฉพาะกับคนใดคนหนึ่งหยุดคุณจะไม่พบสินค้าบนหิ้งที่มีส่วนลดมา 26 ธันวาคมของเรา

เนื้อหา

The team: Illustrator Hiroko Sanders developed the series of desserts via digital illustration. Her attention to detail in cake texture and decoration came from hours of research in bakeries and her own kitchen. Sr. Designer - Jen Brock, Design Manager - Jody Douglas, Creative Director - Christine Mau

แปลข่าว

ทีม: แซนเดอ Illustrator ฮิโรโกะพัฒนาชุดของขนมผ่านภาพประกอบดิจิตอล ความสนใจของเธอในรายละเอียดในเนื้อเค้กและการตกแต่งมาจากชั่วโมงการวิจัยในเบเกอรี่และห้องครัวของเธอเอง ซีเนียร์ออกแบบ - Jen Brock, ออกแบบ Manager - โจดี้ดักลาส, ผู้อำนวยการสร้าง - คริสตินเมา

สรุปข่าว

บรรจุภัณฑ์ของสินค้าชิ้นนี้มีรูปลักษณ์สะดุดตา สามารถนำวัสดุที่มีอยู่ในท้องตลาดทั่วไปมาดัดแปลงเพิ่มมูลค่าให้กับสินค้า ได้เป็นอย่างดี ตัวบรรจุภัณฑ์นั้น ผู้ออกแบบต้องการจะบ่งบอกถึงดีไซต์ที่ทันสมัย  ออกแบบมาให้เข้ากับรูปทรงของขนม ในส่วนใหญ่ของการ บรรจุภัณฑ์นั้น จะมาในรูปแบบกล่องสี่เหลี่ยม ซึ่งจะทำให้ขนมเกิดความเสียหายจากการขนส่ง แต่บรรจุภัณฑ์ชิ้นนี้มีองค์การออกแบบมาเพื่อรักษารูปทรงของขนมไว้ ซึ่งออกแบบได้สวยงามและสะดุดตา 








    ที่มา : http://www.thedieline.com/blog/2010/12/6/divine-desserts.html

ARTI3314 สาระการเรียนรู้สัปดาห์ที่ 1 วันที่ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2555





ARTI3314 สาระการเรียนรู้สัปดาห์ที่ 1 วันที่ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2555


สัปดาห์ที่1 แนะแนวทางในการเรียนการสอน



การเรียนการสอน วิชาการออกแบบกราฟิกบนบรรจุภัณฑ์ Arti3314 อาจารย์ได้บอกให้ทราบถึงกฎระเบียบในการเข้าเรียน เกณฑ์การให้คะแนน วิธีส่งงานการเก็บข้อมูลและไฟล์งานของเราขั้นตอนการส่งรายงาน



ตอบแบบสำรวจและประเมินการเรียนการสอน  อาจารย์ให้กรอกแบบสำรวจ:Survey ในhttp://arti3314.blogspot.com/ และเข้าไปที่ http://www.surveycan.com/survey101807 ให้เวลา 15 นาที 
สร้างโปรไฟล์ตัวเองขึ้นมา โดยการสมัคร e-mail ของ gmail และใช้ชื่อจริง ในการสมัครสร้างhttp://www.blogger.com/ ของตัวเอง 
งานบางส่วนที่ต้องทำให้เสร็จ 


งาน

1.ให้นักศึกษาวิชาarti3314 สร้างบล็อกของตัวเอง
2.ให้กลับไปออกแบบ font
*คำที่ให้ออกแบบ*
ก ชวนอวด
อักษรไทย
ให้ปรากฎจริง
Hamburgefonstiv
*สามารถใช้ โปรแกรมการออกแบบได้ทุกตัว
ส่งแบบร่าง พร้อมงานจริง 

วันศุกร์ที่ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2555

งาน Thai Typeface Design Competition ครั้งที่ 2

ที่มาของโครงการฟอนต์ภาษาไทยในระบบคอมพิวเตอร์ต่างๆ ได้ถูกพัฒนามาอย่างต่อเนื่อง ควบคู่ไปกับการพัฒนาระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ให้รองรับภาษาไทย จนทำให้เกิดการใช้งานในทุกๆ ส่วนของสังคมอย่างทั่วถึง

ในปัจจุบันซอฟต์แวร์ทั้งในระบบเปิด (Open Source Software) และระบบปิด (Commercial Software) ล้วนต้องใช้ฟอนต์ด้วยกันทั้งสิ้น ฟอนต์ภาษาไทยที่ใช้กันอย่างแพร่หลายส่วนใหญ่ มักจะเป็นฟอนต์ที่มาพร้อมกับระบบปฏิบัติการ Windows และระบบปฏิบัติการ Mac OSX ซึ่งเป็นฟอนต์ที่มีลิขสิทธิ์ มีบางฟอนต์ที่ผู้พัฒนาอนุญาตให้นำไปใช้ได้โดยไม่คิดมูลค่า เช่น ฟอนต์ที่พัฒนาโดยองค์กรในภาคอุตสาหกรรมการพิมพ์ คือ ชมรมการจัดพิมพ์อิเล็กทรอนิกไทย สหพันธ์อุตสาหกรรมการพิมพ์ และฟอนต์ที่พัฒนาจากโครงการของกรมทรัพย์สินทางปัญญาร่วมกับสำนักงานส่งเสริม อุตสาหกรรมซอฟต์แวร์แห่งชาติ (SIPA)

ในส่วนของนักพัฒนาฟอนต์เองก็มีจำนวนจำกัด เนื่องจากไม่มีการเรียนการสอนโดยตรงในสถาบันการศึกษา นักพัฒนาฟอนต์เหล่านี้จึงต้องขวนขวายศึกษาหาความรู้เอาเองอย่างไร้การ สนับสนุนจากสังคมทำให้เกิดปัญหาการขาดแคลนผู้มีความรู้และประสบการณ์ อันจะนำไปสู่ปัญหาคุณภาพของฟอนต์ที่จะถูกพัฒนาขึ้นในอนาคตด้วย

ชมรมการจัดพิมพ์อิเล็กทรอนิกไทย จึงคิดโครงการ “แข่งขัน-ประชัน-นักออกแบบตัวพิมพ์รุ่นใหม่” นี้ขึ้น เพื่อส่งเสริมให้เกิดนักออกแบบฟอนต์รุ่นใหม่ๆ และเพื่อเชื่อมโยงเครือข่ายผู้เกี่ยวข้องกับการพัฒนาฟอนต์ ให้มีความเข้มแข็ง เกิดการพัฒนาฟอนต์ภาษาไทยอย่างยั่งยืนและมีคุณภาพ โดยจัดครั้งแรกขึ้นในปี 2554 ได้รับผลสำเร็จเป็นที่น่าพอใจ จึงเห็นควรให้ดำเนินโครงการนี้ต่อเนื่องเป็นประจำทุกปี

1) วัตถุประสงค์
- ส่งเสริมการอนุรักษ์และพัฒนาศิลปวัฒนธรรม ด้านอักขระภาษาไทย เพื่อมีแบบตัวพิมพ์ไทยให้เลือกใช้ได้อย่างเหมาะสม หลากหลาย อ่านได้ง่าย สวยงาม และเหมาะกับเนื้อหาของงาน
- ส่งเสริมให้เกิดนักออกแบบตัวพิมพ์หน้าใหม่ โดยการสร้างเวทีสำหรับการแข่งขันประชันผลงานขึ้นอย่างต่อเนื่องเป็นประจำทุกปี
- ส่งเสริมให้เกิดการต่อยอดในเชิงพาณิชย์ สำหรับนักออกแบบตัวพิมพ์รุ่นใหม่
- เสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับเครือข่ายฟอนต์ในประเทศไทย อันประกอบด้วย อาจารย์ในสถาบันการศึกษา นักศึกษา นักออกแบบ บริษัทผู้พัฒนาฟอนต์ ผู้ใช้ เครือข่ายสื่อต่างๆ และทรัพยากรบุคคลอื่นๆ เพื่อพัฒนาให้เครือข่ายฟอนต์ในประเทศไทยมีความเข้มแข็งและยั่งยืน

2) การดำเนินงาน
- ประชาสัมพันธ์โครงการฯ โดยผ่านเครือข่ายฟอนต์ ได้แก่ สถาบันการศึกษา และสื่อต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานออกแบบกราฟิก และการใช้ฟอนต์
- นักออกแบบฟอนต์ จะส่งผลงานในรูปแบบไฟล์ชนิด PDF โดยผ่านทางเว็บไซต์ที่ชมรมฯ เตรียมไว้สำหรับการรับผลงาน ซึ่งมีระบบคุ้มครองทรัพย์ทางปัญญาของผู้ออกแบบฟอนต์เป็นอย่างดี
- ลักษณะของผลงานที่ส่งเข้าแข่งขัน
• ผลงานออกแบบฟอนต์ ไม่จำกัดประเภท ได้แก่ ตัวเนื้อความ, ตัวพาดหัว, ตัวแฟนซี ฯลฯ
• ผลงานให้เรียงเป็นข้อความสั้น ตามที่คณะกรรมการกำหนด บนพื้นที่กระดาษขนาด A3
- คณะกรรมการคัดเลือก ทีึ่แต่งตั้งจากผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 5 ท่าน ทำหน้าที่คัดเลือกผลงานทั้งหมดที่ส่งเข้าแข่งขัน โดยคัดเลือกผู้ที่มีผลงานดีเด่น จำนวน 20 คน เพื่อรับโล่/ใบประกาศเกียรติคุณ และผู้ผ่านเกณฑ์ จำนวน 30 คน เข้าร่วมการสัมมนาเพื่อพัฒนานักออกแบบตัวพิมพ์ เป็นเวลา 1 วัน
- เผยแพร่ผลงานและข้อมูลของผู้ออกแบบ ผ่านทางเว็บไซต์ของชมรมฯ และเครือข่ายพันธมิตร

3) กลุ่มเป้าหมายผู้เข้าประกวด
- นิสิต นักศึกษาในสถาบันการศึกษาที่เปิดสอนวิชา lettering design และ typography
- นักออกแบบกราฟิก และบุคคลทั่วไปที่สนใจการออกแบบตัวพิมพ์

4) แผนการดำเนินงาน
- 1 ก.พ. – 30 เม.ย. 2555
• ติดต่อประสานงานเครือข่ายฟอนต์ ได้แก่ fOnt.com, เครือข่ายใน facebook, ผู้เคยเข้าร่วมกิจกรรมประกวดแบบตัวพิมพ์ของชมรมฯ และของกรมทรัพย์สินทางปัญญา, บริษัทผู้พัฒนาแบบตัวพิมพ์, อาจารย์และสถาบันการศึกษาทีเปิดสอนวิชา lettering design และ typography, นิตยสาร iDesign, Computer Art ฯลฯ
• แต่งตั้งคณะกรรมการคัดเลือกผลงาน
- 15 พ.ค. 2555 เริ่มประชาสัมพันธ์โครงการ
- 15 พ.ค. – 30 มิ.ย. 2555 รับผลงานผ่านทางเว็บไซต์ www.tepclub.org
- 1-3 ก.ค. 2555 คัดเลือกผลงาน
- 5 ก.ค. 2555 แจ้งผลการคัดเลือกถึงผู้มีผลงานดีเด่นและผู้ผ่านเกณฑ์ (รวม 50 คน)
- 21 ก.ค. 2555 กิจกรรมสัมมนาเพื่อพัฒนานักออกแบบตัวพิมพ์ (80-100 คน) ประกอบด้วย การสัมมนาวิชาการ กิจกรรมเสริมสร้างเครือข่ายฟอนต์ และการมอบโล่/ใบประกาศเกียรติคุณ

5) ตัวชี้วัด
ด้านจำนวนผู้เข้าร่วมและจำนวนผลงาน
- มีผู้ส่งผลงานไม่น้อยกว่า 150 คน จำนวนผลงาน ไม่น้อยกว่า 200 ผลงาน
- มีผลงานที่สามารถพัฒนาต่อยอดเชิงพาณิชย์ ได้ไม่น้อยกว่า 20 ผลงาน

ด้านเครือข่ายฟอนต์ในประเทศไทย
- มีสถาบันการศึกษาเข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า 20 สถาบัน
- ได้รับความสนับสนุนจากบริษัทผู้พัฒนาแบบตัวพิมพ์
- ได้รับความสนับสนุนจากสื่อต่างๆ เช่น fOnt.com และนิตยสารด้านการออกแบบกราฟิก

6) การสัมมนาเพื่อพัฒนานักออกแบบตัวพิมพ์
6.1) กิจกรรมสัมมนาวิชาการ
- ความรู้เรื่องฟอนต์สำหรับสือใหม่ (เว็บไซต์, eBook)
- ประสบการณ์ในการออกแบบตัวอักษรไทย และละติน (Latin)
- ประสบการณ์ในการใช้โปรแกรมสร้างฟอนต์
- การทำตลาดฟอนต์ (ในประเทศและต่างประเทศ)
- ความเห็นเรื่องฟอนต์จากฝั่งนักออกแบบกราฟิก (ผู้ใช้ฟอนต์)
6.2) กิจกรรมสร้างเครือข่าย
- จับคู่นักออกแบบและบริษัทผู้พัฒนาฟอนต์ เพื่อให้เกิดการพัฒนาต่อยอดเชิงพาณิชย์
- แนะนำเครือข่ายอินเตอร์เน็ตและเครือข่ายสังคมออนไลน์ – fOnt.com และ facebook และนิตยสารด้านการออกแบบกราฟิก
- สร้างการมีส่วนร่วมของ resource persons ในเครือข่ายฟอนต์ โดยการเป็นวิทยากร การเป็นพี่เลี้ยงให้นักออกแบบรุ่นใหม่




รายละเอียดโครงการ

ดาวโหลดใบส่งผลงาน

ดาวโหลดใบสมัครเข้าร่วมโครงการ





1.ทำเว็บบล็อกให้เสร็จเรียบร้อย
2.รายงานข่าว (แปลข่าวสาารเกี่ยวกับการออกแบบกราฟิคบนบรรจุภัณฑ์) ลงบล็อก+ Google docs
3.เลือกสินค้า Kanchanaburi otop มา1ชิ้นแล้วดำเนินการตามขั้นตอน 3ส. เริ่มจาก ส1.สืบค้น ส่งงาน  อาทิยต์หน้า เป็นงานกลุ่ม ขั้นแรกตั้งชื่อกลุ่ม โลโก้ประจำกลุ่ม ผลงานแบบร่าง
4.งานเดี่ยว ออกแบบฟ้อนต์ A3
*คำที่ให้ออกแบบ* 
 ก    ชวนอวด
       อักษรไทย 
       ให้ปรากฎจริง 
       Hamburgefonstiv

**สามารถใช้ โปรแกรมการออกแบบได้ทุกตัว
ส่งแบบร่าง พร้อมงานจริง


                       




                                การออกแบบ FONT




โดย นายณัฐวุฒิ บุญสม
รหัส 5311322571   กลุ่ม 101
Email : natthawut11081991@gmail.com
Blogspot : http://natthawut-arti3314.blogspot.com
รายวิชา ARTI3314 การออกแบบกราฟฟิกบรรจุภัณฑ์




1. สเก็ตแบบ font ลงในกระดาษแล้วนำมาสแกนลงในคอมพิวเตอร์




2. ทำการดาร์ฟเส้นตัว font ที่ต้องการในโปรแกรม Adobe Illustrator 





3. หลังจากนั้นจัดเรียงตัว font ให้ถูกต้องและ ทำการตกแต่ง font ตามแบบที่ต้องการ












4.ผลงานเสร็จสมบูรณ์







ที่มาของภาพ นาย ณัฐวุฒิ บุญสม Adobe Illustrator CS4